1981) โมแฮมแมด-แอลี แรจออี(ประธานาธิบดีอิหร่าน ถูกลอบสังหารใน ค. 1981) แอลี ฆอเมเนอี(ประธานาธิบดีอิหร่าน)[44] แอคแบร์ ฮอเชมี แรฟแซนจอนี(ประธานรัฐสภาและสมาชิกสภาป้องกันแห่งชาติสูงสุด ภายหลังตำรงตำแหน่งจอมพล) โมแฮมแมด-แจวอด บอโฮแนร์(นายกรัฐมนตรีอิหร่าน ถูกลอบสังหารใน ค. 1981) มีร์-โฮเซย์น มูแซวี(นายกรัฐมนตรีอิหร่าน) พลจัตวา Valiollah Fallahi(เสนาธิการ เสียชีวิตตอนเครื่องบินตกใน ค. 1981) พลจัตวา Qasem-Ali Zahirnejad(เสนาธิการ) พันเอก เอสมอเอลี โซฮ์รอบี(เสนาธิการ) พลจัตวา แอลี แชฮ์บอซี(เสนาธิการ) โมฮ์เซน เรซอยี(ผู้บัญชาการ IRGC) มัสอูด บัรซะนี(หัวหน้าพรรคประชาธิปไตยเคอร์ดิสถาน) ญะลาล ฏอละบานี(หัวหน้าสหภาพปิตุภูมิเคอร์ดิสถาน) Chenar Faraj(หัวหน้าเพชเมร์กา) เนาชิรวาน มุสตะฟา(รองเลขาธิการทั่วไปแห่งสหภาพปิตุภูมิเคอร์ดิสถาน) มุฮัมมัด บากิร อัลฮะกีม(หัวหน้าสภาอิสลามสูงสุดแห่งอิรัก) อับดุลอะซีซ อัลฮะกีม(หัวหน้าฝ่ายทหาร ISCI) ซัดดัม ฮุสเซน(ประธานาธิบดีอิรัก) อิซซัต อิบรอฮีม อัดดูรี(รองประธานสภาคณะบัญชาการคณะปฏิวัติ) อะลี ฮะซัน อัลมะญีด(หัวหน้าหน่วยข่าวกรองอิรัก) ฏอฮา ยาซีน เราะมะฎอน(เลขาธิการและรองเลขาธิการพรรค) อะบิดิลฮะมีด มะห์มูด(พลโท) เศาะลาห์ อะบูด มะห์มูด(พลเอก) ฏอริก อะซีซ(รัฐมนตรีว่าการการะทรวงต่างประเทศและสมาชิกสภาคณะบัญชาการคณะปฏิวัติ) อัดนาน ค็อยรุลลอฮ์(รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม) ศ็อดดาม กามิล(ผู้บัญชาการกองกำลังพิทักษ์สาธารณรัฐ) อุดัย ฮุซัยน์(ลูกชายของซัดดัม ฮุสเซน) กุศ็อย ฮุซัยน์(ลูกชายของซัดดัม ฮุสเซน) มาฮัร อับดุรเราะชีด(พลเอก) แมสอูด แรแจวี(ประธานNational Council of Resistance of Iran) หน่วยที่เกี่ยวข้อง ดูลำดับสงคราม ดูลำดับสงครามกำลัง เริ่มต้น:[45] ทหาร 110, 000–150, 000 นาย เพิ่มเติม: รถถัง 1, 700–2, 100 คัน[46][47] (ใช้งานได้ 500 คัน) รถหุ้มเกราะ 1, 000 คัน ปืนใหญ่ 300 อัน[48] เครื่องบินรบ-ทิ้งระเบิด 485 ลำ[49] (ใช้งานได้เต็มที่ 205 ลำ) เฮลิคอปเตอร์ 750 ลำ ใน ค.
5 เหตุผลที่วิกฤตอเมริกา-อิหร่าน ไม่จบง่าย ๆ - BBC News ไทย14 มกราคม 2020ที่มาของภาพ, EPAโดย โจนาธาน มาร์คัส ผู้สื่อข่าวสายการทูตเป็นเรื่องน่ายินดีที่อย่างน้อยการสังหารคาเซ็ม สุเลมานี ยังไม่ได้ทำให้ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่าน กลายเป็นสงครามเต็มรูปแบบ หากมองในมุมนั้นก็อาจถือได้ว่าวิกฤตนี้ได้คลายความตึงเครียดลงแล้ว อย่างไรก็ดี ปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้ทั้งสองประเทศเกือบทำสงครามกัน ยังไม่ได้เปลี่ยนไปเลย และนี่คือเหตุผล 5 ประการว่าทำไมวิกฤตนี้ยังไม่จบลงง่าย ๆ 1. ลดระดับความขัดแย้งแค่ชั่วคราว เป็นเรื่องที่เข้าใจกันผิดหากจะมองว่าอิหร่านพยายามจะลดระดับความขัดแย้งด้วยการออกมายอมรับผิดที่ยิงเครื่องบินยูเครนตกปกติแล้ว อิหร่านต้องออกมาปฏิเสธว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุที่เกิดขึ้น แต่คราวนี้พวกเขาไม่มีทางเลือกอื่นเพราะมีหลักฐานมัดตัวมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐฯ ที่มีข่าวกรอง หน่วยสืบสวนของยูเครนที่บอกว่าเจอหลักฐานว่ามีการยิงขีปนาวุธจริง และก็มีทีมสืบสวนอิสระที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าวิดีโอที่บันทึกเหตุการณ์ขีปนาวุธยิงเครื่องบินตกเป็นของจริง เห็นได้ชัดตั้งแต่ตอนที่มีรถแบคโฮ พยายามไปกวาดบริเวณที่เครื่องบินตกว่า จริง ๆ แล้วทางการอิหร่านรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น หากคิดว่าเป็นอุบัติเหตุจริง ๆ เจ้าหน้าที่ก็คง ไม่เข้าไปยุ่งกับซากเครื่องบินตกที่มาของภาพ, Getty Imagesคำบรรยายภาพ, ก่อนหน้านี้ ทางการอิหร่านปฏิเสธรายงานที่ระบุว่า มีการยิงเครื่องบินโดยขีปนาวุธใกล้กับกรุงเตหะรานไม่กี่เดือนก่อน ชาวอิหร่านจำนวนมากเพิ่งออกมาประท้วงปัญหาการทุจริตและวิกฤตเศรษฐกิจ และหลังจากอิหร่านออกมายอมรับเรื่องขีปนาวุธยิงเครื่องบินตก คนก็กลับออกมาเดินประท้วงตามท้องถนนอย่างรวดเร็ว การออกมายอมรับความผิดพลาดของทางการอิหร่านในครั้งนี้ จึงเป็นมาตรการการจัดการปัญหาความไม่พอใจ ของผู้คนภายในประเทศมากกว่าเป็นการลดระดับความตึงเครียดกับสหรัฐฯ 2.
ข่าวอิหร่าน ล่าสุด - RYT9
ปฏิวัติอิหร่าน จุดเริ่มต้นแห่งความขัดแย้งกับอเมริกา - InterGold
After its recent defeats, Iran was virtually defenseless in the south. It was down to less than 200 tanks. " ↑ Pollack, p. 3. ↑ 53. 0 53. 1 53. 2 53. 3 Hiro, Dilip (1991). The Longest War: The Iran–Iraq Military Conflict. New York: Routledge. p. 205. ISBN 978-0-415-90406-3. OCLC 22347651. ↑ 54. 0 54.
Rather than include all of Iraq's gains, it included the equipment that could either be used immediately or be easily reconditioned. Iraqi sources claimed that since March, Iraq had captured a total of 1, 298 tanks, 155 armored infantry fighting vehicles, 512 heavy artillery weapons, 6, 196 mortars, 5, 550 recoilless rifles and light guns, 8, 050 rocket propelled grenades, 60, 694 rifles, 322 pistols, 6, 156 telecommunications devices, 501 items of heavy engineering equipment, 454 trucks, 1, 600 light vehicles and trailers, 16, 863 items of chemical defense gear, and 16, 863 caskets...
Financial Times. ↑ "US and British Support for Hussein Regime". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 16 May 2019. ↑ "U. Links to Saddam During Iran–Iraq War". NPR. 22 September 2005. ↑ Friedman, Alan. Spider's Web: The Secret History of How the White House Illegally Armed Iraq, Bantam Books, 1993.
อิหร่าน : สำนักข่าวอินโฟเควสท์ - InfoQuest Limited
[ต้องการเลขหน้า] ↑ Timmerman, Kenneth R. (1991). The Death Lobby: How the West Armed Iraq. New York: Houghton Mifflin Company. ISBN 0-395-59305-0. ↑ "Statement by former NSC official Howard Teicher to the U. District Court, Southern District of Florida" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-24. สืบค้นเมื่อ 16 July 2017. Plain text version ↑ "Iraqi Scientist Reports on German, Other Help for Iraq Chemical Weapons Program". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2015. ↑ "Yugoslavia Arms Sales".
; Walt, Stephen M. (12 November 2002). "Can Saddam Be Contained? History Says Yes". International Security. Belfer Center for Science and International Affairs. [ลิงก์เสีย] ↑ 45. 0 45. 1 Pollack, p. 186. ↑ Farrokh, Kaveh, 305 (2011) ↑ Pollack, p. 187. ↑ Farrokh, Kaveh, 304 (2011) ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2018. สืบค้นเมื่อ 9 December 2018. {{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) ↑ Pollack, p. 232. ↑ Cordesman, Anthony H. "The Lessons of Modern War: The Iran–Iraq War. " Boulder, CO: Westview Press, 1990. Chapter 10: "In fact, Iraq had captured so much equipment that it was able to put on an incredible show on the outskirts of Baghdad.
Environmental News and Information. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-07. สืบค้นเมื่อ 7 November 2012. ↑ Cordesman, Anthony H. Iraqi Security Forces: A Strategy for Success. Greenwood Publishing Group. p. xviii. ISBN 978-0275989088. Hundreds of thousands of Arab Shi'ites were driven out of [Iraq], and many formed an armed opposition with Iranian support. While most of the remaining Arab Shi'ites remained loyal, their secular and religious leaders were kept under constant surveillance and sometimes imprisoned and killed. ↑ Mearsheimer, John J.
อิหร่าน - อเมริกา วิเคราะห์บอล 29 พ.ย. 65 เวลา 02.00 น.
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของอิหร่านยังเหมือนเดิม แม้เศรษฐกิจจะไม่ดี และนับวันชาวอิหร่านจะไม่พอใจมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ชนชั้นนำคงไม่ยอมจะทิ้งอำนาจไปง่าย ๆ พวกเขามีองค์กรอย่างกองกำลังพิทักษ์การปฏิวัติอิหร่าน (Revolutionary Guard Corps) ที่ทรงอิทธิพลเกินกว่าจะยอมละทิ้งอำนาจที่มี สิ่งที่พวกเขาจะทำต่อไปคือจัดการกับผู้เห็นต่างในประเทศและก็พยายามผลักสหรัฐฯ ออกจากภูมิภาคไป หลังจากการสังหารสุเลมานี การไล่สหรัฐฯ ออกจากภูมิภาค หรืออย่างน้อยก็แค่ออกจากอิรัก มีความเป็นไปได้มากกว่าเก่า จากมุมมองของทางการอิหร่าน นโยบายการต่างประเทศของอิหร่านประสบความสำเร็จพอสมควร พวกเขาช่วยให้ประธานาธิบดีบาชาร์ อัล-อัสซาด ของซีเรียครองอำนาจไว้ได้ ช่วยเปิดพื้นที่ให้ซีเรียต่อสู้กับอิสราเอลได้ และก็มีอิทธิพลอย่างมากในอิรัก ที่มาของภาพ, Reutersคำบรรยายภาพ, ปธน.
บทที่ 2 ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของอิหร่าน
ความสัมพันธ์สหรัฐ-อิหร่านยังไม่มีทางออก - VOV World